กำเนิดไอเดียอาหาร ‘นวัตกิน’ จากดินแดนอาทิตย์อุทัย
….
(วันนี้วันวาเลนไทน์ แอดแนะนำส่วนตัวให้อ่านเรื่องของหม้อหุงข้าวไฟฟ้าครับ )
เมื่อพูดถึงประเทศญี่ปุ่น สิ่งที่เรามักนึกถึงเป็นอันดับแรกๆ ก็คือ “อาหาร” กับ “เทคโนโลยี” จริงมั้ยครับ
ทีนี้ในบางครั้งเมื่อมีใครนำสองสิ่งนี้มารวมตัวกันมันก็ย่อมเกิดกลายเป็นนวัตกรรมทางอาหารใหม่นั่นเอง ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาจนปัจจุบันบอกได้เลยครับว่ามีนวัตกรรมทางอาหารจากชาวญี่ปุ่นหลายอันครับที่เปลี่ยนแปลงวงการอาหารไปทั่วโลกมาแล้ว
และนี่คือเรื่องราวการเกิดไอเดียของเหล่า ‘นวัตกิน’ จากดินแดนอาทิตย์อุทัยที่คนไทยน่าจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดีครับ
บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป..ไอเดี
….
เรื่องราวของบะหมี่กึ่งสำเร
ท่ามกลางอากาศเย็นเยือกในฤด
โมโมฟุกุพัฒนาบะหมี่ต้นแบบด
โมโมฟุกุได้ผลิตบะหมี่กึ่งส
นวัตกินจากสมองของโมโมฟุกุไ
Cup Noodle ออกวางจำหน่ายในปี 1971 ถือเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้
กาแฟกระป๋อง..เกิดจากรถไฟมา
….
ถ้าเรากำลังดื่มกาแฟเพลินๆ แล้วมีเหตุให้ต้องทิ้งกาแฟเ
แต่สำหรับอุเอชิมะ ทาดาโอะ ผู้ก่อตั้งบริษัทยูซีซี (UCC) นั่นคือแรงบันดาลใจการคิดค้
ทุกๆ เช้า ทาดาโอะจะแวะดื่มกาแฟที่สถา
แต่มีอยู่วันหนึ่ง รถไฟที่เขาต้องโดยสารกลับออ
เพราะไม่อยากให้เหตุการณ์อย
นับจนถึงปัจจุบัน กาแฟกระป๋องของเขาทำยอดขายไ
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า..สงสารภรร
….
การหุงข้าวเคยเป็นงานที่กวน
นักประดิษฐ์คนนั้นมีชื่อว่า
โยชิทาดะคือผู้คิดค้นหม้อหุ
และเธอยังต้องรับหน้าที่ทดล
หม้อหุงข้าวไฟฟ้าที่มีระบบต
ผงชูรส..แรงบันดาลใจจากแกงจืดเต้าหู้
….
รสชาติที่แฝงอยู่ในอาหารญี่ปุ่น คือรสของดาชิ ซึ่งเป็นน้ำซุปที่ปรุงจากสาหร่ายคอมบุหรือปลาโอแห้ง ผู้ที่สามารถสกัดรสชาตินี้ออกมาได้เป็นคนแรกก็คือ อิเคดะ คิคุนาเอะ นักเคมีแนวหน้าของญี่ปุ่นเมื่อร้อยกว่าปีก่อน
แรงบันดาลใจของผงชูรสเกิดขึ้นจากอาหารพื้นๆ อย่างแกงจืดเต้าหู้ คิคุนาเอะสังเกตว่า เต้าหู้เป็นของไม่มีรสชาติ แต่น้ำซุปของแกงจืดเต้าหูกลับมีรสกลมกล่อม เมื่อเขาลองถามภรรยาก็ได้รับคำตอบว่า เคล็ดลับอยู่ที่การใส่สาหร่ายคอมบุลงในน้ำซุปนั่นเอง
คิคุนาเอะทดลองสกัดรสชาติที่เขาตั้งชื่อว่า “อุมามิ” จากสาหร่ายคอมบุ สารเคมีที่ได้ออกมาก็คือ Glutamic acid ซึ่งเขาได้พัฒนาต่อยอดเป็นผงชูรส หรือ Monosodium glutamate (MSG)
เมื่อคิคุนาเอะนำผงชูรสไปทดสอบกับคนในวงการอาหาร ไม่มีใครสามารถแยกออกว่า อาหารที่ให้ชิมนั้นปรุงจากสาหร่ายคอมบุหรือผงชูรส เขาจึงมั่นใจว่าผงชูรสสามารถทดแทนน้ำซุปดาชิได้ และได้ก่อตั้งบริษัทอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผลิตผงชูรสออกสู่ท้องตลาดในปี 1909
เนื่องจากการผลิตผงชูรสจากสาหร่ายคอมบุมีต้นทุนสูง ผงชูรสในปัจจุบันจึงเปลี่ยนมาใช้วัตถุดิบที่หาได้ง่ายกว่า เช่น ข้าวโพด อ้อย และมันสำปะหลัง
เครื่องดื่มโปรไบโอติก..สาวยาคูลต์นั้นมีที่มา
….
ชิโรตะ มิโนรุ เป็นนักจุลชีววิทยาชาวญี่ปุ่น เขาเติบโตมาในยุคที่การแพทย์ยังไม่เจริญนัก และต้องเห็นคนรอบตัวเสียชีวิตจากการป่วยไข้อยู่เสมอ มิโนรุจึงเกิดความคิดขึ้นมาว่า ถ้าหาทางป้องกันไม่ให้คนป่วยได้ก็น่าจะเป็นเรื่องดี
มิโนรุเริ่มศึกษาจุลินทรีย์ในระบบย่อยอาหาร เขาพบว่าแบคทีเรียในโยเกิร์ตนั้นมีประโยชน์ต่อร่างกาย แต่มักจะถูกย่อยสลายในระบบย่อยอาหาร มิโนรุใช้เวลาหลายปีพัฒนาแบคทีเรียสายพันธุ์พิเศษที่ทนทานระบบย่อยอาหารของมนุษย์ได้ เขาตั้งชื่อให้มันว่า Lactobacillus casei Shirota
มิโนรุได้ก่อตั้งบริษัทยาคูลท์ เพื่อผลิตเครื่องดื่มโปรไบโอติกจากแบคทีเรียที่เพาะพันธุ์ขึ้น เขาผสมแบคทีเรียลงในนม เพราะเป็นเครื่องดื่มราคาถูกที่ใครๆ ก็ดื่มได้ แต่เนื่องจากแบคทีเรียทำให้นมมีรสเปรี้ยวมาก มิโนรุจึงต้องเติมน้ำตาลลงไปเพื่อให้ดื่มได้ง่ายขึ้น ทำให้ยาคูลท์มีรสชาติเปรี้ยวและหวานจัดที่เป็นเอกลักษณ์
ยาคูลท์ออกวางจำหน่ายในปี 1935 ช่วงแรกๆ คนญี่ปุ่นยังไม่กล้าดื่ม เพราะคำว่าแบคทีเรียนั้นชวนให้คิดถึงโรคร้าย มิโนรุจึงได้ตั้งทีมสาวยาคูลท์ ผู้เดินเท้าไปขายยาคูลท์ถึงหน้าบ้าน พร้อมทั้งคอยตอบคำถามเกี่ยวกับเครื่องดื่มโปรไบโอติก
ซึ่งเป็นที่มาของประโยคฮิตที่ว่า “ถามสาวยาคูลท์ดูสิคะ”
ซูชิสายพาน.. พัฒนา 10ปี กว่าจะลงตัว
….
ในช่วงที่ญี่ปุ่นฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซูชิได้เปลี่ยนสถานะจากอาหารหรูหรา กลายมาเป็นอาหารที่คนทั่วไปเข้าถึงได้ มีร้านจำหน่ายซูชิราคาประหยัดเปิดขึ้นมากมาย รวมถึงร้านของชิราอิชิ โยชิอากิด้วย
ร้านของเขามีลูกค้ามายืนหน้าเคาน์เตอร์แน่นขนัดเสมอ โยชิอากิจึงอยากปรับเปลี่ยนวิธีเสิร์ฟซูชิ เพื่อให้บริการลูกค้าได้มากขึ้น
โยชิอากิได้ไอเดียจากการไปเยี่ยมชมโรงงานผลิตเบียร์ เขาทดลองนำสายพานอุตสากรรมมาใช้เสิร์ฟอาหาร แต่ปัญหาก็คือ สายพานโรงงานไม่สามารถเลี้ยวโค้งเป็นมุมฉากตามรูปทรงของเคาน์เตอร์ร้านซูชิได้
โยชิอากิใช้เวลาถึง 10 ปีในการแก้ปัญหานี้ เขาเปลี่ยนแผ่นรองสายพานจากรูปทรงสี่เหลี่ยมเป็นรูปทรงโค้ง เพื่อให้เลี้ยวได้ง่ายขึ้น และเปลี่ยนมาใช้จานกลมแทนจานทรงเหลี่ยม เพื่อไม่ให้จานติดขัดบริเวณมุมเคาน์เตอร์
สิ่งที่โยชิอากิคิดค้นขึ้นได้กลายเป็นมาตรฐานของร้านซูชิสายพานจนถึงทุกวันนี้
โยชิอากิเปิดร้านซูชิสายพานแห่งแรกเมื่อปี 1958 ซึ่งสามารถรับลูกค้าได้มากกว่าร้านเดิมถึง 3 เท่า ความสำเร็จของเขาจุดประกายให้เกิดร้านซูชิสายพานทั่วประเทศญี่ปุ่นในเวลาต่อมา
ไม่เพียงร้านซูชิ ระบบสายพานเสิร์ฟอาหารยังถูกนำไปใช้ในร้านอาหารประเภทอื่นๆ เช่น ร้านติ่มซำ ร้านเค้ก รวมถึงร้านบุฟเฟต์ชาบูเจ้าดังในบ้านเราด้วย